skip to main
|
skip to sidebar
วันพุธที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551
สไลด์แสดงงาน
วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2551
แสดงงาน
ออกแบบโต๊ะแสดงงาน
ออกแบบตั๋วเข้างาน..
รูปเล่มสมบูรณ์
ว่าด้วยเรื่อง..โลโก้
เบื้องหลัง..
ขอขอบคุณน้ำ ที่ช่วยแต่งหน้าให้นางแบบของเรา
จัดไฟ..ถ่ายรูป..จัดท่า ทำทุกอย่าง..
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
copyright
©2550
นางสาวผานิตา หลวงมูล
สงวนลิขสิทธิ์
About colorful Jeju-Phuket
จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
เป็นคนชอบการจินตนาการ ชอบนิทาน ใฝ่ฝันอยากทำงานด้านเด็ก และเคยฝึกงานเกี่ยวกับการทำของเล่น อีกทั้งอยากทำเรื่องที่สามารถใช้จินตนาการในการบอกเล่าเรื่องราวต่างๆได้ ต่อมาได้เข้าใจว่า จินตนาการมีประโยชน์มากก็ต่อเมื่อผู้ที่รับมันสามารถเข้าใจในสิ่งที่แฝงอยู่ และได้มาเรียนทางด้านการออกแบบ เป็นวิชาเรียนที่ท้าทายและสนุกสนาน สามารถเป็นตัวของตัวเอง รวมถึงต้องมองไปถึงมุมมอง และการรับรู้ของผู้อื่นด้วย ซึ่งถือเป็นเรื่องที่ท้าทายมากว่า นักออกแบบจะสื่อสารอย่างไรให้คนที่รับสารสามารถเข้าใจในแนวทางที่ต้องการให้ผู้รับเข้าใจได้มากที่สุด เพราะงานออกแบบไม่ได้มีเพียงความหมายเดียว มันขึ้นอยู่กับมุมมองของแต่ละคน และความเข้าใจในตัวงาน ซึ่งถือว่าเป็นงานที่อาศัยความเข้าใจของตัวงาน มากกว่าการอธิบาย นิสัยส่วนตัว นอกจากชอบเรื่องจินตนาการ ยังเป็นคนชอบเรื่องวัฒนธรรมและคิดว่า วัฒนธรรมเป็นสิ่งสวยงาม ที่มนุษย์สร้างสรรขึ้น เพื่อบ่งบอกความเป็นตัวของตัวเอง โดยตัวงานที่ได้ออกแบบ เป็นงานที่แสดงถึงการออกแบบที่ใช้คำว่า วัฒนธรรมเป็น “สาร” เพื่อบอกเล่าเรื่องราวเชื่อมโยงไปยังคำว่า “ความสัมพันธ์”
About Jeju-Phuket
การออกแบบ
(1)
บทที่ 1
(5)
บทที่ 2
(3)
บทที่ 3
(4)
บทที่ 4
(5)
เบื้องหลัง
(1)
เพะชะคุชะ#5
(1)
โลโก้
(1)
สำรวจ
(2)
แสดงงาน
(2)
ออกแบบ
(10)
colorful Jeju-Phuket
(20)
jeju
(4)
phuket
(1)
Design By
phanita Luangmool
Bangkok, Thailand
degree project colorful-jeju-phuket
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน
About Me
phanita
ADVISER
Ekaluck Peanpanawate
Colorful JeJu Phuket
บทคัดย่อ
ผลงานการออกแบบเรขศิลป์และสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์งาน “สีสัน ไมตรี เมืองพี่เมืองน้อง เจจู-ภูเก็ต”(Colorful Jeju – Phuket) เลือกใช้เรื่องวัฒนธรรมที่มีอยู่มาใช้ในการออกแบบ นอกจากจะได้รูปแบบที่แปลกตาออกไปแล้ว ยังได้เรียนรู้ถึงรูปแบบทางวัฒนธรรมของเกาหลีและไทยที่สามารถถ่ายทอดออกมาอย่างเรียบง่าย แต่สามารถสื่อสารเรื่องความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้เป็นอย่างดี การทำงานชิ้นนี้ต้องอาศัยคนในพื้นที่ช่วยอธิบายเช่น ถามข้อมูลจากคนเกาหลี ศึกษารูปแบบวัฒนธรรมของประเทศเกาหลี เพื่อให้ได้การสื่อสารที่เป็นจริงตามรูปแบบของสถานที่นั้นจริงๆ ส่วนทางภูเก็ตต้องศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด เพราะเป็นประเทศไทยของเรา แต่รูปแบบทางวัฒนธรรมของภูเก็ตนั้นสลับซับซ้อน เนื่องจากเป็นเมืองที่มีการรวมกันหลากหลายวัฒนธรรม จึงเป็นเรื่องที่เราต้องศึกษาให้เข้าใจ เพื่อการสื่อสารที่ไม่บิดเบือนจากข้อมูลจริง ผลงานการออกแบบนี้ น่าจะเป็นแรงกระตุ้นให้เยาวชนรุ่นใหม่หันมาสนใจเรื่องวัฒนธรรมของประเทศมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการอนุรักษ์เพื่อคนรุ่นหลังสืบไป
โครงการออกแบบชิ้นนี้ เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่าง เกาหลี-ไทย โดยการเชื่อมความสัมพันธ์ผ่านเกาะเจจูและเกาะภูเก็ต เป็นการผสมผสานเรื่องวัฒนธรรมทั้งสองประเทศได้อย่างลงตัว และคาดว่าจะเป็นส่วนหนึ่งที่จะเป็นแรงกระตุ้นให้คนรุ่นใหม่หันมาสนใจวัฒนธรรมของประเทศเราได้บ้างไม่มากก็น้อย
คลังบทความของบล็อก
▼
2008
(20)
▼
ตุลาคม
(1)
สไลด์แสดงงาน
►
กันยายน
(19)
song
Spirit - Kinoshita Shinichi/Kiyoshi Yoshida/Wakon/Yukihiro Miyauchi